welcome To My blogger NooTaii

วันจันทร์ที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2555



การเรียนรู้แบบออนไลน์  ( e – Learning )
                เป็นการเรียนรู้ผ่านอินเทอร์เน็ต  เป็นการเรียนรู้ด้วยตนเองตามความสามารถและความเข้าใจ  โดยเนื้อหาบทเรียนประกอบด้วย  ข้อความ  รูปภาพ   เสียง  มัลติมิเดีย  ผ่านเว็บเพาร์เวอร์  ซึ้งทุกคนสามารถแลกเปลี่ยนความคิดได้  เช่นเดียวกับการเรียนในห้อง
-การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับการเรียน
       -  การเรียนรู้แบบออนไลน์  ( e – Learning )
    - บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน  ( Computer  Assisted Instruction – CAI  )
    -  วีดีทัศน์ตามอัทยาศัย     ( Videos on  Demand  VDO )
    -  หนังสืออีเล็กทรอนิกส์  ( G – books )
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศรูปแบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
  มี 6 รูปแบบ

       เทคโนโลยีที่เก็บข้อมูล
      เทคโนโลยีที่ใช้ในการประมวลผลข้อมูล
      เทคโนโลยีที่ใช้ในการแสดงผลข้อมูล
      เทคโนโลยีที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล
      เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดสำเนาเอกสาร
       เทคโนโลยีสำหรับถ่ายทอดหรือสื่อสารข้อมูล



      ๑       เทคโนโลยีที่เก็บข้อมูล      เทคโนโลยีที่ใช้ในการประมวลผลข้อมูล      เทคโนโลยีที่ใช้ในการแสดงผลข้อมูล      เทคโนโลยีที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล      เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดสำเนาเอกสาร       เทคโนโลยีสำหรับถ่ายทอดหรือสื่อสารข้อมูล


-  ตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
     -    ระบบเอทีเอ็ม
    -   การลงทะเบียน
    -   การบริการและการทำธุรกิจบนอินเทอร์เน็ต
พฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ อะไร
          การแสดงออกทางความคิดความรู้สึกในการใช้รูปแบบของเทคโนโลยีทุกประเภทที่นำมาใช้ในการประยุกต์ใช้ในมวลการจัดหา  จัดเก็บ  จัดเรียง  ได้แก่  ภาพ  ข้อความ  ตัวอักษรหรือตัวเลข
-  การใช้อินเทอร์เน็ต
            ส่วนใหญ่ใช้งานอินเทอร์เน็ตเพื่อความบันเทิงเนื่องจากมีความสะดวกติดต่อกับผู้อื่นได้ง่าย   ส่วนในระดับอุดมศึกษาใช้เพื่อความรู้ และติดต่อสื่อสาร




การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีกับการเรียนการสอน
         บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน  คือ   บทเรียนคอมพิวเตอร์ซึ้งนำสารสนเทศที่ได้ผ่านกระบวนการสร้างและพิจารณาอย่างดี มีเนื้อหาวิชาหรือสารสนเทศ  แบบฝึกหัด  การทดสอบและการให้ข้อมูลป้อนกลับผู้เรียนตอบสนองต่อบทเรียน  โดยอาศัยพฤติกรรมการเรียนรู้  ทฤษฎีการเสริมแรง   ทฤษฎีการวางเงื่อนไขปฏิบัติ  ซึ้งถือว่าความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองเป็นการให้ผู้เรียนมีโอกาสเรียนรู้ด้วยตนเอง และตอบสนองกลับทันที  และเรียนรู้ไปทีละขั้นตอนอย่างเหมาะสมต่อความต้องการและความสามารถของตน



                -     วิดีทัศน์ตามอัชยาศัย   คือ ระบบการเรียกดูภาพยนตร์ตามสั่งที่อาจจะอำนวยความสะดวกให้ผู้ใช้งานสามารถเลือกดูภาพยนต์  ข้อมูล  ภาพเคลื่อนไหว  พร้อมเสียงได้ตามต้องการ  สโลแกนที่ว่า to  view what  one wants.  และสามารถควบคุมข้อมูลวิดีโอนั้นๆ โดยสามารถย้อนกลับ ตรงไปข้างหน้า หรือหยุดชั่วคราวได้เปรียบเสมือนดูวิดีโอที่บาน
             -  หนังสืออิเล็กทรอนิกส์   คือ  หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถอ่านได้ทางอินเทอร์เน็ต  โดยมีเครื่องมือที่จำเป็นการอ่านหนังสือประเภทนี้   คือ  ฮาร์ดแวร์   ประเภทเครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์พกพาอื่นๆ  ส่วนการดึงข้อมูล  e-books  ซึ้งอยู่บนเว็บไซน์การให้บริการด้านนี้มีลักษณะของไฟล์  e-books  หากนักเรียนหรือนักพิมพ์ต้องการว่าง  e-books  สามารถเลือกได้  ๔  รูปแบบ  ( HTML )  ( PDF )  ( PML )  ( XML )
           -  ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์    คือ   เป็นแหล่งความรู้ที่บันทึกไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายและให้บริการสารสนเทศทางอิเล็กทรอนิกส์หรือผ่านครือข่ายอินเทอร์เน็ต
               คุลักษะที่สำคัญของห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ มีดังนี้
๑  หารจัดทรัพยากรสารสนเทศ
๒ ความสามารถในการเข้าถึงสารสนเทศ
๓ บรรณาลักหรือบุคลากร
๔ ความสามารถในการจักเก็บ
-  การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ
          การใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการสืบค้น  ค้นหา  หรือดึงข้อมูลและสารนเทศที่ผู้ช้ระบุแหล่งรวบรวมสารสนเทศไร้จำนวนมากเพื่อประโยชน์ต่างๆ
             -  วัตถุประสงค์ในการสืบค้นสารสนเทศ
              ๑เพื่อทราบถึงรายละเอียดของข้อมูล
               )  เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการศึกษาหรือทำงาน
              ๓ )  เพื่อสร้างการเรียนรู้ให้กับตนเองและผู้อื่น
             ๔  )   เพื่อตรวจสอบข้อมูล
            ๕ )    เพื่อการนำข้อมูลที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
-  Search  Engine
         หมายถึง  เครื่องมือหรือเว็บไซต์ที่อำนวยความสะดวกในการสืบค้นข้อมูลและข่าวสารให้แก่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ต   จากแหล่งข้อมูลเว็บไซต์ต่างๆ ในระบบเครือข่าย  เพื่อให้มาซึ้งข้อมูลที่ต้องการ           คือ     โปรแกรมที่ออกแบบมาเป็นเครื่องมือสำหรับใช้ค้นหาข้อมูลบนเว็บไซต์ต่างๆ
-  Search  Engine    แบ่งออกเป็น   ๓   ประเภท
         -  อินดักเซอร์   (  Indexerx  )  เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการค้นหาหรือหาข้อมูลต่างๆ    หรือที่เรียกว่า  Robot  วิ่งไปมาในอินเทอร์เน็โดยอัตโนมัติเพื่ออ่านข้อมูลจาเว็บเพจต่างๆ  (Web  Pahes  )
        -  ไดเร็กเทอร์  ( Direetories  )    จะใช้เก็บรวยรวมข้อมูล
        เมตะเสิร์น   (  Metasearch  )          จะใช้หลายวิธีมาช่วยในการหาข้อมูลโดยจะ รับคำสั่งค้นหาจากเราแล้วส่งต่อไปยังเว็บไซต์
คอมพิวเตอร์ หมายถึง   เครื่องมืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทำงานด้วยคำสั่ง    ชุดคำสั่ง หรือโปรแกรมต่างๆ  สามารถเชื่อมต่อกันเป็นครือข่ายได้หลายแบบลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์คือมีศักยภาพสูงในคำนวณและประมวลผลข้อมูลทั้งที่เป็น  ภาพและเสียง
-   ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์   แบ่งออกเป็น ๕  ส่วน
        ๑  หน่วยรับข้อมูลเข้า    ( Input  Unit )  ได้แก่
              แป้นอักขระ    ( Keybeard )
             แผ่นซีดี       (  CD – Rom )
            ไมโคโฟน    (Microphone )
     ๒  หน่วยประมวลผลกลาง  ( Central Pressing  Unit )
                  ทำหน้าที่เกี่ยวกับการคำนวณทั้งทางตรรยะและทางคณิตศาสตร์รวมถึงการประมวลข้อมูลตามคำสั่ง
   ๓  หน่วยคามจำ   ( Memory Unit )  
                 ทำหน้าที่เก็บข้อมูลหรือคำสั่งที่รับมาจากหน่วยรับข้อมูลเพื่อเตรียมส่งไปประมวลผลยังหน่วยประมวลผลกลางเพื่อเตรียมไปยังหน่วยแสดงผล
  ๔  หน่วยแสดงผล   ( Output  Unit )  
               ทำหน้าที่แสดงข้อมูลที่คอมพิวเตอร์ทำการประมวลผล หรือผ่านการประมวลผลแล้ว
  ๕  อุปกรณ์ต่อพ่วงอื่น ๆ   ( Peripheral  Equipment )
             เป็นอุปกรณ์ที่นำมาต่อพ่วงกับคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้มากยิ่งขึ้น  เช่น  โมเด็ม  Modem   แผ่นวงจรเชื่อมต่อเครือข่าย
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
๑  มีความเร็วในการทำงานสูง สามารถประมวลผลคำสั่งได้เร็ว
๒ มีประสิทธิภาพในการทำวานสูง  ทำงานได้ตลอด  ๒๔ ซม.
๓ มีความถูกต้องแม่นยำ  ตามโปรแกรมข้อมูลที่ใช้
๔ เก็บข้อมูลมาก  ไม่เปลืองที่เก็บเอกสาร
๕ สามารถโอนย้ายข้อมูลจากเครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่งได้ผ่านระบบเครือข่ายอย่างรวดเร็ว
- ระบบคอมพิวเตอร์ 
          คือ   กรรมวิธีคอมพิวเตอร์ทำงานไดๆ เก็บข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่เป็นประโยชน์ตามความประสงค์ของผู้ใช้งาน  เช่น  ระบบเสียภาษี  ระบบทะเบียนบ้าน  ระบบทะเบียนการศาลราษฎร์ 
ทะเบียนโรงพยาบาล  ระบบ System  

วันอังคารที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2555


- การทำงานของระบบ  Network และ  Internet
          โครงสร้างของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
๑ เครือข่านเฉพราะที่  (  Local Area Network : LAN  )
               เป็นเครือข่ายที่มักพบกันในองค์กรโดยส่วนใหญ่ลักษณะของการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นวง  LAN
จะอยู่ในพื้นที่ใกล้เคียงกัน  เช่น  อยู่ในอาคาร  หรือหน่อยงานเดียวกัน สามารถดูแลได้เองโดยไม่ต้องใช้ระบบสื่อสารข้อมูลแบบอื่น
       



๒  เครือข่ายเมือง  ( Matropolitan  Area Network :  MAN
        เป็นกลุ่มของเครือข่าย  LAN  ที่นำมาเชื่อมกันเป็นวงที่ใหญ่ขึ้น ภานในบริเวณพื้นที่ใกล้เคียง
เช่น ในเมืองเดียวกัน  
        


 ๓ เครือข่ายบริเวณกว้าง  (  Wide Area Network  :  WAN )
     เป็นเครือข่ายใหญ่ขึ้นอีกระดับ  โดยเป็นการรวมทั้งเครือข่าย  LAN  และ  MAN   มาเชื้อมต่อกันเป็น
เครือข่ายเดียว  ดังนั้นเครือข่ายนี้จึงควบคุมพื้นที่กว้าง  โดยมีการควบคุมไปทั่วประเทศ

       


       รุปแบบโครงสร้างเครือข่าย  ( Network Topolohy )
            การจัดระบบการทำงานของเครือข่าย  มีรูปแบบโครงสร้างของเครือข่ายเป็นการจัดวางคอมพิวเตอร์   และเดินสายสัญญาณคอมพิวเตอร์   โดยแบ่งโครงสร้างเครือข่ายหลักได้  4  แบบ
คือ - เครือข่ายแบบดาว
      - เครือข่ายแบบวงแหวน
      - เครือข่ายแบบบัส
     -  เครือข่ายแบบต้นไม้


      ๑  เครือข่่ายแบบดาว
              เป็นการเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุด โดยสถานีทุกสถานีในเครือข่ายจะต่อเข้ากับหน่วยสลับสายกลางแบบจุดต่อจุด การติดต่อสื่อสารระหว่างสถานีจะกระทำได้ด้วยการติดต่อผ่านทางวงจรของหน่วยสลับสายกลาง การทำงานของหน่วยสลับสายกลางจึงคล้ายกับศูนย์กลางของการติดต่อวงจรเชื่อมโยงระหว่างสถานีต่าง ๆ ที่ต้องการติดต่อกัน
ข้อดีคือการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เครื่องใหม่สามารถทำได้ง่ายและไม่กระทบกับเครื่องอื่นในระบบเลย แต่ข้อเสียคือมี ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสายสูงและถ้าคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางเสียระบบเครือข่ายจะหยุดชะงักทั้งหมดทันที
            


๒  ระบบเครือข่ายแบบวงแหวน
   เป็นลักษณะการเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุดเช่นเดียวกับแบบดาว โดยสถานีแต่ละสถานีจะต่อกับสถานีที่อยู่ติดทั้งสองข้างของตนเอง และทุกสถานีมีเครื่องขยายสัญญาณของตัวเอง โดยจะมีการเชื่อมโยงเครื่องขยายสัญญาณของแต่ละสถานีเข้าด้วยกันเป็นวงแหวน สัญญาณข้อมูลจะส่งอยู่ในวงแหวนแบบจุดต่อจุดไปในทิศทางเดียวกันจนถึงผู้รับภายในเวลาที่กำหนด โดยเครื่องขยายสัญญาณเหล่านี้จะมีหน้าที่ในการรับข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ของตัวเองหรือจากเครื่องขยายสัญญาณตัวก่อนหน้า และส่งข้อมูลต่อไปยังเครื่องขยายสัญญาณตัวถัดไปเรื่อย ๆ เป็นวง หากข้อมูลที่ส่งเป็นของสถานีใด เครื่องขยายสัญญาณของสถานีนั้นก็รับและส่งให้กับสถานีนั้น จึงต้องมีการตรวจสอบข้อมูลที่ได้รับว่าเป็นของตนหรือไม่ ถ้าใช่ก็รับไว้ ถ้าไม่ใช่ก็ส่งต่อไป อีกทั้งสามารถตรวจสอบความผิดพลาดในการส่งด้วยโดยกรณีที่เครื่องรับปลายทางไม่ได้รับสัญญาณข้อมูลในเวลาที่กำหนด จะมีการแจ้งว่าเกิดความผิดพลาดในเครือข่ายได้ ข้อดีคือ ใช้สายเคเบิลน้อย และสามารถตัดเครื่องที่เสียออกจากระบบได้ ทำให้ไม่มีผลต่อระบบเครือข่าย ข้อเสียคือหากมีเครื่องที่มีปัญหาอยู่ในระบบจะทำให้เครือข่ายไม่สามารถทำงานได้เลย และการเชื่อมต่อเครื่องเข้าสู่เครือข่ายอาจต้องหยุดระบบทั้งหมดลงก่อน
          


 ๓  ระบบเครือข่ายแบบบัส
    เป็นรูปแบบที่มีผู้นิยมใช้มากแบบหนึ่ง เพราะมีโครงสร้างไม่ยุ่งยากและไม่ต้องใช้อุปกรณ์สลับสาย เป็นการเชื่อมต่อแบบหลายจุด สถานีทุกสถานีรวมทั้งอุปกรณ์ทุกชิ้นในเครือข่ายจะเชื่อมต่อเข้ากับสายสื่อสารหลักเพียงสายเดียว เรียกว่าแบ็กโบน (backbone) การจัดส่งข้อมูลลงบนบัสจึงสามารถทำให้การส่งข้อมูลไปถึงทุกสถานีได้ผ่านสายแบ็กโบนนี้ โดยการจัดส่งวิธีนี้ต้องกำหนดวิธีการที่จะไม่ให้ทุกสถานีส่งข้อมูลพร้อมกันเพราะจะทำให้ข้อมูลชนกัน โดยวิธีการที่ใช้อาจเป็นการแบ่งช่วงเวลา หรือให้แต่ละสถานีใช้ความถี่สัญญาณที่แตกต่างกัน ข้อดีที่ใช้สายน้อย และถ้ามีเครื่องเสียก็ไม่มีผลอะไรต่อระบบโดยรวม ส่วนข้อเสียก็คือตรวจหาจุดที่เป็นปัญหาได้ยาก
     


๔  ระบบเครือข่ายต้นไม้
     มีลักษณะการเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุดเช่นเดียวกับแบบดาว โดยมีสายนำสัญญาณแยกออกไปเป็นแบบกิ่ง เครือข่ายแบบนี้จะเหมาะกับการประมวลผลแบบกลุ่มจะประกอบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ระดับต่างๆกันอยู่หลายเครื่องแล้วต่อกันเป็นชั้น ๆ ดูราวกับแผนภาพองค์กร แต่ละกลุ่มจะมีโหนดแม่ละโหนดลูกในกลุ่มนั้นที่มีการสัมพันธ์กัน การสื่อสารข้อมูลจะผ่านตัวกลางไปยังสถานีอื่นๆได้ทั้งหมด เพราะทุกสถานีจะอยู่บนทางเชื่อม และรับส่งข้อมูลเดียวกัน ดังนั้นในแต่ละกลุ่มจะส่งข้อมูลได้ทีละสถานีโดยไม่ส่งพร้อมกัน
   

  -  การประยุกต์ใช้งานของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทำให้เกิดการสื่อสาร  และการแบ่งบันการใช้ทรัพยากรระหว่างเครื่อง
 -  ระบบเครือข่ายแบ่งตามลักษณะการทำงาน  แบ่งได้    3   ประเภท
๑ ระบบเครือข่ายแบบศูนย์กลาง    Centarllized  Network  
๒ ระบบเครือข่ายแบบ    Peer  to  Peer
๓ ระบบเครือข่ายแบบ  Client / Server


    ๑ ระบบเครือข่ายแบบรวมศูนย์กลาง
 เป็นระบบที่มีเครื่องหลักเพียงเครื่องเดียวที่ใช้ในการประมวลผล ซึ่งจะตังอยู่ที่ศูนย์กลางและมีการเชื่อมต่อไปยังเครื่องเทอร์มินอลที่อยู่รอบๆ โดยการเดินสายเคเบิลเชื่อมต่อกันโดยตรง เพื่อให้เครื่องเครื่องเทอร์มินอลสามารถเข้าใช้งาน โดยส่งคำสั่งต่างๆ มาประมวลผลที่เครื่องกลาง ซึ่งมักเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรมประสิทธิภาพสูง ระบบเครือข่ายแบบรวมศูนย์กลางจะมีราคาสูง และและไม่สามารถสนับสนุนระบบการประมวลผลแบบ Multiprocessor ได้ดีเท่ากับระบบเครือข่ายแบบ Client/Server ปัจจุบันระบบนี้จึงมีความนิยมในการใช้งานลดน้อยลง

   ๒  ระบบเครือข่าย peer to peer

 เครือข่ายแบบนี้จะเก็บไฟล์และการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ต่างๆ ไว้ที่เครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้แต่ละคน โดยไม่มีคอมพิวเตอร์ส่วนกลางที่ทำหน้าที่นี้ เรียกได้ว่าต่างคนต่างเก็บ ต่างคนต่างใช้ แต่ผู้ใช้ในเครือข่ายสามารถเรียกใช้ไฟล์จากคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นได้ ถ้าคอมพิวเตอร์เครื่องนั้นทำการแชร์ไฟล์เหล่านั้นไว้ เครือข่ายแบบ Peer-to-Peer นี้เหมาะสำหรับองค์กรขนาดเล็กที่มีคอมพิวเตอร์เชื่อมต่อกันไม่เกิน 10 เครื่อง เนื่องจากติดตั้งง่าย ราคาไม่แพง และการดูแลไม่ยุ่งยากนัก แต่ถ้าคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายมีมากกว่า 10 เครื่องขึ้นไปควรจะใช้เครือข่ายแบบอื่นดีกว่า
  

   ๓ ระบบเครือข่ายแบบ Client / Server
  ป็นรูปแบบหนึ่งของเครือข่ายแบบ server-based โดยจะมีคอมพิวเตอร์หลักเครื่องหนึ่งเป็น เซิร์ฟเวอร์ ซึ่งจะไม่ได้ทำหน้าที่ประมวลผลทั้งหมดให้เครื่องลูกข่าย หรือไคลเอนต์ (client) เซิร์ฟเวอร์ทำหน้าที่เสมือนเป็นที่เก็บข้อมูลระยะไกล (remote disk) และประมวลผลบางอย่างให้กับไคลเอนต์เท่านั้น เช่น ประมวลผลคำสั่งในการดึงข้อมูลจากเซิร์ฟเวอร์ฐานข้อมูล (database server) เป็นต้น


-  



หน่วยความจำหลัก
        คือ หน่วยความจำที่ต่อกับหน่วยประมวลผลกลาง และหน่วยประมวลผลกลางสามารถใช้งานได้โดยตรง หน่วยความจำ ชนิดนี้จะเก็บข้อมูล และชุดคำสั่งในระหว่างประมวลผล และมีกระแสไฟฟ้า เมื่อปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ข้อมูลในหน่วย ความจำนี้จะหายไปด้วย หน่วยความจำหลักที่ใช้ในระบบคอมพิวเตอร์ปัจจุบัน เป็นชนิดที่ทำมาจากสารกึ่งตัวนำ หน่วยความจำชนิดนี้มีขนาดเล็ก ราคาถูก แต่เก็บข้อมูลได้มาก และสามารถให้หน่วยประมวลผลกลาง นำข้อมูลมาเก็บ และเรียกค้นได้อย่างรวดเร็ว
         เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องต้องอาศัยหน่วยความจำหลัก เพื่อใช้เก็บข้อมูลและคำสั่ง ซีพียูจะทำหน้าที่นำคำสั่ง จากหน่วยความจำหลัก มาแปลงความหมายแล้วกระทำตาม เมื่อทำเสร็จก็จะนำผลลัพธ์มาเก็บไว้ในหน่วยความจำหลัก ซีพียูจะกระทำตามขั้นตอนเช่นนี้เป็นวงรอบเรื่อยๆ ไปอย่างรวดเร็ว เรียกการทำงานลักษณะนี้ว่า วงรอบคำสั่ง (Execution cycle)
         จากการทำงานเป็นวงรอบของซีพียูนี้เอง การอ่านเขียนข้อมูลลงในหน่วยความจำหลัก จะต้องทำได้อย่างรวดเร็ว เพื่อให้ทันการทำงานของซีพียู โดยปกติุุถ้าให้ซีพียูทำงานที่มีความถี่ของสัญญาณนาฬิกา 2,000 เมกะเฮิรตซ์ หน่วยความจำหลักที่ใช้ทั่วไปมักจะมีความเร็วไม่ทันช่วงติดต่ออาจมีเพียง 100 เมกะเฮิรตซ์


หน่วยประมวลผลกลาง


ด้านฮาร์ดแวร์ 2 อย่างคือ
1.ชิป (chit) ทำหน้าที่การทำงานข้อมูลของคอมพิวเตอร์








2. ตัวกล่องเครื่องที่มี CPU บรรจุอยู่


y)











แรม RAM = Random Access N=Memory เป็นหน่วยึความจำที่ต้องอาศัยกระแสไฟฟ้า เพื่อรักษาข้อมูล ข้อมูลหรือกระแสข้อมูลจะถูกเก็บไว้ชั่วคราวขณะทำงาน

รอม ROM = Read Only Memory เป็นหน่วยความจำที่ใช้เก็บโปรแกรมหรืแชอข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ข้อมูลที่ถาวรไม่ขึ้นกับไฟฟ้าที่ป้อนให้กับวงจร ยอมให้ซีพียูอ่านข้อหรือดปรแกรมไปใช่งานอย่างเดียว


หน่อยความจำสำรอง
Secondary Memoy Unit


    ฮาร์ดิส               แฮนดี้ไดส์              แผ่นดิส์                       
mp 4             mp 3











         ประโยชน์ของหน่อยความจำสำรอง
         หน่อยความจำสำรองจะช่วยแก้ปัญหาการสูญหายของข้อมูลอันเนื่องมาจากไฟฟ้าดับเพราะข้อมูลต่างๆที่ส่งเข้ามาประมวลผล   ผลลัพธ์ที่ได้จะถูกเก็บในความจำหลักประเทแรมหาอปิดเครื่องหรือมีปัญหาทางไฟฟ้า  อาจท่ำให้ข้อมูลสูญหายจึงต้องมีหน่อยความจำสำรองเพื่อนำข้อมูลจากหน่อยความจำแรมมาเก็บไว้

 
            ส่วนแสดงผลข้อมูล
  คือ ส่านที่แสดงข้อมูลจากสัญญาณไฟฟ้าในหน่อยประมวลผงกลางให้เป็นรูปแบบที่คนสามารถเข้าใจได้ อุปกรณ์ที่แสดงผลข้อมูลได้แก่  จอภาพ Monitor   Sereen   เคนื่องพิมพ์  Printer   ลำโพง  Speaker
เป็นต้น
     

           บุคลากรคอมพิวเตอร์
        PEOLEWARE

หมายถึง  คนที่มีความรู้ความสามารถในการใช้หรือควบคุมให้กรใช้งานคอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างราบรื่น

            ประเถทบุคลากรคอมพิวเตอร์
              PEOPLEWARE
   1 ฝ่ายวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน
   2 ฝ่ายเกี่ยวกีบโปรแกรม
   3 ฝ่ายปฏิบัติงานเครื่องและบริการ
  
          บุคลากรในหน่อยงานคอมพิวเตอร์
   1หัวหน้าหน่อยงานคอมพิเตอร์  EDP  Manager
   2หัวกน้าฝ่ายวิเคราะห์และวงแผนระบบงาน Syatem Analyst หรือ  SA
   3โปรแกรมเมอร์ Prokrammor
   4วิศวกรระบบ
   5พนักงานปฏิบัติงาน


          คอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น  4  ระบบ
    1  ผู้จักการระบบ System Managre
    2  นักวิเคราะห์ระบบ System Analyst
    3  โปรแกรมเมอร์  Programmer
    4   ผู้ใช้  User
ซอฟแวร์(Softwere)               คือ การลำดับขั้นตอนการทำงานของคำสั่งที่จะทำหน้าที่สั่งคอมพิวเตอร์ว่าให้ทำอะไร เป็นชุดของโปรแกรมหลายๆโปรแกรมนำมารถทำงานได้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ตามที่ต้องการ เรามองไม่เห็นหรือสัมผัสไม่ได้แต่เราสารมารถสร้าง จัดเก็บ และนำมาใช้งานหรือเผยแพร่ได้ด้วยสือหลายชนิด เช่น แผ่นซีดี แผ่นบันทึก แฟล็ชไดร์ฟ ฮาร์ดดิสก์ เป็นต้น

วันอังคารที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2555


คอมพิวเตอร์และระบบคอมพิวเตอร์
       คอมพิวเตอร์หมายถึง เครื่องมือหรืออุปกรณ์ประเภทอิเล็กทรอนิกที่ทำงานด้วยคำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือโปรแกรมต่างๆ สามารถเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายได้หลายแบบ

ส่วนประกอบที่สำคัญของคอมพิวเตอร์
      แบ่งออกเป็น  5 ส่วนคือ
ส่วนที่  1  หน่วยรับข้อมูลเข้า (Input unit) เป็นวัสดุอุปกรณ์ที่นำมาเชื่อมต่อทำหน้าที่ป้อนสัญญานเข้าสู่ระบบเพื่อกำหนดให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามความต้องการได้แก่
-แป้นอักขระ (Keyboard)
-แผ่นซีดี (CD-rom)
-ไมโครโฟน (Microphone )เป็นต้น

ส่วนที่2 หน่วยประมวนผลกลาง
(Central Processing Unit)
ทำหน้าที่เกี่ยวกับการคำนวนทั้งกลางตรรกะและคณิตศาสตร์ รวมทั้งการประมวลข้อมูลตามคำสั่งที่ได้รับ

หน่วยที่3  หน่วยความจำ (Memory Unit)
ทำหน้าที่เก็บข้อมูลหรือคำสั่งที่ส่งมาจากหน่วยรับข้อมูลเผื่อเตรียมส่งไปประมวลผลยังหน่วยประมวลผลกลางและเก็บผลรับที่ได้จากการประมวลผลแล้วเตรียมส่งไปยังหน่วยแสดงผล

ส่วนที่4 หน่วยแสดงผล (Output Unit)
ทำหน้าที่แสดงข้อมูลคอมพิวเตอร์ทำการประมวลผลหรือผ่านการคำนวนแล้ว

ส่วนที่5 อุปกรณ์ต่อพ่วงอื่น
(Peirpharel Equipment)
เป็นอุปกรณ์ที่นำมาต่อพ่วงเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธืภาพในการทำงานมากยิ่งขึ้น เช่น โมเดิม (Modem) แผงวงจรเชื่อมต่อเครือข่ายเป็นต้น

ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
1.มีความเดะร็วในการทำงานสูง สามารถประมวลผลคำสั่งได้เร็วเพียงชั่ววินาที จึงทำงานต่างๆได้อย่างรวจเร็ว
2.มีประสิทธิภาพในการทำงานสูง ทำงานตลอด 24 ชั่วโมง ใช่แทนกำลังคนไดมาก
3.มีความถูกต้องแม่นยำ ตามโปรแกรมสั่งงานและข้อมูลที่ใช่
4.เก็บข้อมูลได้มาก ไม่เปลืองเนื้อที่เก็บเอกสาร
5.สามารถโอนย้ายข้อมูลจากเครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่งหนึ่งผ่านระบบเครือยข่ายได้อย่างรวจเร็วช่วยอำนวยความสะดวกในการใช่งาน


ระบบคอมพิวเตอร์
หมายถึงกรรมวิธีคอมพิวเตอร์ ทำการไดๆกับข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่เป็ประโยชน์ตามความประสงของผู้ใช้งานให่มากที่สุดเช่นระบบเสียภาษี ระบบทะเบียนราษฏร์ ระบบทะบียนการค้าระบบเวชระเบียนของโรงพยาบาล เป็นต้น
การเข้าถึงข้อมูลเหล่านี้สามมารถเข้าถึงได้โดยการตรวจสอบจากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์จากหน่วยงานที่เปชกี่ยวข้อง


องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
มี4ส่วนสำคัญคือ
1.ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หรือส่วนเครื่อง
2.ซอฟแวร์ (
3.ข้อ
4.บุคลากร
 ฮาร์ดแวร์ หมายถึง ตัวเครื่องและอุปกรณ์ 4 ส่วนคือ
1.ส่วนประมวลผล
2.ส่วนความจำ
3.อุปกรณรับเข้าและส่งออก
4.อุปกรณ์เก็บข้อมูล

ส่วนที่1.
CPU
เป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่เปรียบเสมือนสมอง  มีหน้าที่หลักในการควาบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์ ประมวนผลเปรียบเทียบข้อมูลโดยทำการเปลี่ยนแปลงข้อมูลดิบให้แปลงเปผ็นสารสนเทศที่สามมารถนำไปใช้ประโยชน์ได้  ซีพียูนั้นพิจารณาจากความเร็วของการทำงานการรับส่งข้อมูลอ่านและเขียนข้อมลในหน่วยความจำ มีหยน่วยเป็นเฮิร์ด 1 ล้านรอบ ใน1 วินาทีเทียบเท่าสัญญาญนาฬิกา 1 จกกะเฮิร์ต (1GH)
ส่วนที่ 2 หน่วยความจำ (Memmory)
จำแนกสองประเภท
1.หน่วยคสามจำหลัก (Main Memory)
2.หน่วยความจำสำรอง (Seandary Storrage)

หน่วยความจำหลัก
        คือ หน่วยความจำที่ต่อกับหน่วยประมวลผลกลาง และหน่วยประมวลผลกลางสามารถใช้งานได้โดยตรง หน่วยความจำ ชนิดนี้จะเก็บข้อมูล และชุดคำสั่งในระหว่างประมวลผล และมีกระแสไฟฟ้า เมื่อปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ข้อมูลในหน่วย ความจำนี้จะหายไปด้วย หน่วยความจำหลักที่ใช้ในระบบคอมพิวเตอร์ปัจจุบัน เป็นชนิดที่ทำมาจากสารกึ่งตัวนำ หน่วยความจำชนิดนี้มีขนาดเล็ก ราคาถูก แต่เก็บข้อมูลได้มาก และสามารถให้หน่วยประมวลผลกลาง นำข้อมูลมาเก็บ และเรียกค้นได้อย่างรวดเร็ว
         เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องต้องอาศัยหน่วยความจำหลัก เพื่อใช้เก็บข้อมูลและคำสั่ง ซีพียูจะทำหน้าที่นำคำสั่ง จากหน่วยความจำหลัก มาแปลงความหมายแล้วกระทำตาม เมื่อทำเสร็จก็จะนำผลลัพธ์มาเก็บไว้ในหน่วยความจำหลัก ซีพียูจะกระทำตามขั้นตอนเช่นนี้เป็นวงรอบเรื่อยๆ ไปอย่างรวดเร็ว เรียกการทำงานลักษณะนี้ว่า วงรอบคำสั่ง (Execution cycle)
         จากการทำงานเป็นวงรอบของซีพียูนี้เอง การอ่านเขียนข้อมูลลงในหน่วยความจำหลัก จะต้องทำได้อย่างรวดเร็ว เพื่อให้ทันการทำงานของซีพียู โดยปกติุุถ้าให้ซีพียูทำงานที่มีความถี่ของสัญญาณนาฬิกา 2,000 เมกะเฮิรตซ์ หน่วยความจำหลักที่ใช้ทั่วไปมักจะมีความเร็วไม่ทันช่วงติดต่ออาจมีเพียง 100 เมกะเฮิรตซ์


หน่วยประมวลผลกลาง


ด้านฮาร์ดแวร์ 2 อย่างคือ
1.ชิป (chit) ทำหน้าที่การทำงานข้อมูลของคอมพิวเตอร์








2. ตัวกล่องเครื่องที่มี CPU บรรจุอยู่












แรม RAM = Random Access N=Memory เป็นหน่วยึความจำที่ต้องอาศัยกระแสไฟฟ้า เพื่อรักษาข้อมูล ข้อมูลหรือกระแสข้อมูลจะถูกเก็บไว้ชั่วคราวขณะทำงาน

รอม ROM = Read Only Memory เป็นหน่วยความจำที่ใช้เก็บโปรแกรมหรืแชอข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ข้อมูลที่ถาวรไม่ขึ้นกับไฟฟ้าที่ป้อนให้กับวงจร ยอมให้ซีพียูอ่านข้อหรือดปรแกรมไปใช่งานอย่างเดียว


หน่อยความจำสำรอง
Secondary Memoy Unit










         ประโยชน์ของหน่อยความจำสำรอง
         หน่อยความจำสำรองจะช่วยแก้ปัญหาการสูญหายของข้อมูลอันเนื่องมาจากไฟฟ้าดับเพราะข้อมูลต่างๆที่ส่งเข้ามาประมวลผล   ผลลัพธ์ที่ได้จะถูกเก็บในความจำหลักประเทแรมหาอปิดเครื่องหรือมีปัญหาทางไฟฟ้า  อาจท่ำให้ข้อมูลสูญหายจึงต้องมีหน่อยความจำสำรองเพื่อนำข้อมูลจากหน่อยความจำแรมมาเก็บไว้
  
   
            ส่วนแสดงผลข้อมูล
  คือ ส่านที่แสดงข้อมูลจากสัญญาณไฟฟ้าในหน่อยประมวลผงกลางให้เป็นรูปแบบที่คนสามารถเข้าใจได้ อุปกรณ์ที่แสดงผลข้อมูลได้แก่  จอภาพ Monitor   Sereen   เคนื่องพิมพ์  Printer   ลำโพง  Speaker
เป็นต้น
       

           บุคลากรคอมพิวเตอร์
        PEOLEWARE
 
หมายถึง  คนที่มีความรู้ความสามารถในการใช้หรือควบคุมให้กรใช้งานคอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างราบรื่น

            ประเถทบุคลากรคอมพิวเตอร์
              PEOPLEWARE
   1 ฝ่ายวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน
   2 ฝ่ายเกี่ยวกีบโปรแกรม
   3 ฝ่ายปฏิบัติงานเครื่องและบริการ
    
          บุคลากรในหน่อยงานคอมพิวเตอร์
   1หัวหน้าหน่อยงานคอมพิเตอร์  EDP  Manager
   2หัวกน้าฝ่ายวิเคราะห์และวงแผนระบบงาน Syatem Analyst หรือ  SA
   3โปรแกรมเมอร์ Prokrammor
   4วิศวกรระบบ
   5พนักงานปฏิบัติงาน
  

          คอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น  4  ระบบ
    1  ผู้จักการระบบ System Managre
    2  นักวิเคราะห์ระบบ System Analyst
    3  โปรแกรมเมอร์  Programmer
    4   ผู้ใช้  User
ซอฟแวร์(Softwere)               คือ การลำดับขั้นตอนการทำงานของคำสั่งที่จะทำหน้าที่สั่งคอมพิวเตอร์ว่าให้ทำอะไร เป็นชุดของโปรแกรมหลายๆโปรแกรมนำมารถทำงานได้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ตามที่ต้องการ เรามองไม่เห็นหรือสัมผัสไม่ได้แต่เราสารมารถสร้าง จัดเก็บ และนำมาใช้งานหรือเผยแพร่ได้ด้วยสือหลายชนิด เช่น แผ่นซีดี แผ่นบันทึก แฟล็ชไดร์ฟ ฮาร์ดดิสก์ เป็นต้น


หน้าที่ของซอฟแวร์(Softwere)

                ทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์และเครื่องคอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มีซอฟแวร์เราก็ไม่สามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำอะไรได้เลย วแฟแวร์สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกได้หลายประเภท

ซอฟแวร์แบ่งออกเป็น 3 ประเภท

-ซอฟแวร์ระบบ(System Software)
-ซอฟแวร์ประยุกต์ (Application Software)
-ซอฟแวร์ใช้งานเฉพาะ

1.ซอฟแวร์ระบบ (System Software)

   เป็นระบบโปรแกรมที่บริษัทผู้ผลิสร้างขึ้นมาเพื่อใช้จักการกับระบบ คือ ดำเนินงานพื้นฐานต่างๆของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น รับข้อมูลจากแผงแป้นอักขระแล้วแปลความหมายให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ นำข้อมูลไปแสดงบนจอภาพหรือนำออกไปยังเครื่องพิมพ์ จัดการข้อมูลในระบบแฟ้มข้อมูลบนหน่วยความจำสำรอง
     System Software  หรือโปรแกรมระบบที่รู้จักกันดีก็คือ DOS,Windows,Unix,Linux รวมทั้งโปรแกรมแปลคำสั่งที่เขียนในภาษาระดับสูง เช่น ภาษา Basic,Fortran,Pascal,Cobol,C เป็นต้น
     นอกจากนี้โปรแกรมที่ใช้งานการตรวจสอบระบบเช่น Norton's Utilities ก็นับเป็นโปรแกรมสำหรับระบบด้วยเช่นกัน

หน้าที่ของซอร์ฟแวร์ System Software

1.ใช้ในการจัดการหน่วยรับเข้าและหน่วยส่งออก เช่น รับรู้การกดแป้นต่างๆบนแผนแป้นอักขระ ส่งรหัสตัวอักษรออกทางจอภาพหรือเครื่องพิมพ์ ติดต่อกับอุปกรณ์รับเข้าและส่งออกอื่นๆ เช่น เมาส์ ลำโพง เป็นต้น
2.ใช้ในการจัดการหน่วยความจำ เพื่อนำข้อมูลจากแผ่นบันทึกมาบรรจุยังหน่วยความจำหลัก หรือในทำนองกลับกัน คือนำข้อมูลจากหน่วยความจำหลักมาเก็บไว้ในแผ่นบันทึก
3.ใช้เป็นตัวเชื่อมต่อระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามารถใช้งานได้ง่ายขึ้น เช่น การขอดูรายการในสารบบ(directiry)ในแผ่นบันทึก การทำสำเนาแฟ้มข้อมูล ซอร์ฟแวร์ระบบพื้นฐานที่เห็นกันทั่วไป แบ่งออกเป็นระบบปฏิบัติการและตัวแปลภาษา

ประเภทของซอฟต์แวร์ระบบ  แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ

1.ระบบปฏิบัติการ (Operating System:OS)
2.ตัวแปลภาษา

1.ระบบปฏิบัติการ (Operating System:OS)หรือ โอ เอส

             เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องเป็นซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการนี้ ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้กันมากและเป็นที่รู้จักกันดีเช่น ดอส วินโดว์ ยูนิกซ์ ลีนุกซ์ และแมคอินทอช เป็นต้น
               
              1.ดอส (Disk Operating System : DOS) เป็นซอฟต์แวร์จักระบบงานที่พัฒนามานานแล้ว การใช้งานจึงใช้คำสั่งเป็นตัวอักษร ดอสเป็นซอฟต์แวร์ที่รู้จักกันดีในหมู่ไมโครซอฟต์คอมพิวเตอร์ในอดีต ปัจจุบันระบบปฏิบัติการดอสนั้นมีการใช้งานน้อยมาก
              2. วินโดวส์ (windows)เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาต่อจากดอส โดยให้ผู้ใช้สามารภสั่งงานได้จากเมาส์มากขึ้นแทนการใช้แผงแป้นอักขระเพียงอยางเดียว นอกจากนี้ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ยังสามารถทำงานำด้หลายอย่างพร้อมกัน โดยงานแต่ล่ะงานจะอยู่ในกรรอบช่องหน้าตางบนจอภาพ ทำให้สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ง่ายขึ้น ระบบปฏิบัติการคอมหิวเตอร์จึงได้รับความนิยมอย่างมากในปัจจุบัน
              3. ยูนิกซ์ (Unix)เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาตั้งแต่ครั้งใช้กับเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์เป็นระบบปฏิบัติการที่เป็นเทคโนโลยีแบบเปิด (Open System) ซึ่งเป็นแนวคิดที่ผู้ใช้ไม่ต้องผูกติดกับระบบใดระบบหนึ่งหรืออุปกรณ์ที่มียี่ห้อเดียวกันยูนิกซ์ยังถูกออกแบบมาเพื่อตอบสนองการใช้งานในลักษณะที่มีผู้ใช้(multitasking)ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์จึงนิยมใช้กับเครื่องที่เชื่อมโยงเครือข่าย เพื่อใช้งานร่วมกันหลายๆเครื่องพร้อมกัน
                4. ลีนุกซ์(linux) เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาจากระบบยูนิกซ์ เป็นระบบซึ่งมีการแจกจ่ายโปรแกรมต้นฉบับให้นักพัฒนาช่วยกันพัฒนาคุณสมบัติของระบบปฏิบัติการลีนุกซ์เป็นที่นิยมกันมากขึ้นในปัจจุบัน เนื่องจากมีโปรแกรมประยุก์ต่างๆ ที่ทำงานบนระบบลีนุกซ์ จำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งโปรแกรมในในกลุ่มของกูส์นิว (GNU) และสิ่งที่สำคัญคือระบบลีนุกซ์เป็นระบบปฏิบัติการประเภทแจกฟรี (Fee Ware)ผู้ใช้สามารถใช้ได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
                    ระบบลีนุกซืสมารถทำงานำด้บนระบบหลายตระกูล เช่น อินเทล () ดิจิทอลและซันสปาร์ค ถึงแม้ว่าในขณะนี้ลีนุกซ์ยังไม่สามารถแทนระบบปฏิบัติการวินโดวส์บนพีซีได้ทั้งหมดก็ตาม แต่ผู้ใช้จำนวนมากได้หันมาใช้และช่วยพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนลีนุกซ์กันมากขึ้น
                 5.แมคอินทอช เป็นระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์  แมคอินทอชส่วนมากนำไปใช้งานด้านกราฟฟิก ออกแบบและจัดแต่งเอกสาร นิยมใช้ในสำนักพิมพ์ต่างๆ
         นอกจากระบบปฏิบัติการที่กล่ามาแล้วยังมีระบบปฏิบัติการอีกมากมาย เช่น ระบบปฏิบัติการที่ใช้ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานเป็นระบบ เช่น ระบบปฏิบัติการเน็ตแวร์ นอกจากนี้ยังมีระบบปฏิบัติการที่ใช้งานเฉพาะเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่สร้างขึ้นมาเพื่องานใดงานหนึ่งโดยเฉพาะ ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ในห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ในสถาบันศึกษา

   ระบบปฏิบัติการสามารถจำแนกออกเป็น 3 ชนิด
1. ประเภทใช้งานเดียว() ระบบปฏิบัติการประเภทนี้จะกำหมดให้เครื่องคอมพิวเตอร์ใช้งานได้ครั้งล่ะหนึ่งงานเท่านั้น ใช้ในเครื่องขนาดเล็กอย่างไมโครคอมพิวเตอร์ เช่น ระบบปฏิบัติการดอส เป็นต้น  
2. ใช้หลายงาน (Multi-tasking) ประบบปฏิบัติการประเภทนี้สามารถควบคุมการทำงานได้หลายงานในขณะเดียวกัน ผู้ใช้สามรถทำงานกับซอฟต์แวร์ประยุกต์ได้หลายชนิดในเวลาเดียวกัน เช่น ระบบปฏิบัติการ Windows98ขึ้นไป และ Unix เป็นต้น
3.   ประเภทใช้งานหลายคน (Multi-user) ในหน่วยงานบางแห่งอาจใช้คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่ทำหน้าที่ประมวลผล ทำให้ในขณะใดขณะหนึ่งมีผู้ใช้คอมพิวเตอร์พร้อมหันหลายคน แต่ละคนจะมีสถานีงานของตัวเองเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์จึงต้องใช้ระบบปฏิบัติการที่มีความสามารถสูง เพื่อให้ผู้ใช้ทุกคนสามารถทำงานเสร็จในเวลา เช่น ระบบประติบัติการWindows NT และ Unix เป็นต้น   


2.ตัวแปลภาษา
           การพัฒนาซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการแปลภาษาระดับสูงเพื่อแปลภาษษระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง
ภาษาระดับสูงมีหลายภาษาซึ้งสร้างขึ้นให้ผู้เขียนโปรแกรมเชียนชุดคำสั่งได้ง่ายเข้าใจได้ และเพื่อให้สามารถปรับปรุงแก้ไขซอฟต์แวร์ในภายหลังได้
           ภาษาระดับสูงที่พัฒนาขึ้นทุกภาษาต้องมีตัวแปลภาษา ซึ้งภาษาระดับสูงได้แก่  ภาษาBasic,Fortran,Pascal,Cobol,C และภาษาโลโก เป็นต้น
          นอกจากนี้ ยังมีภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใชช้กันอยู่ในปัจจุบันอีกมาก ได้แก่ Fortran,Cobol และภาษาอาร์พีจี

ซอฟต์แวร์ประยุกต์(Application Softwere)
ซอฟต์แวร์ที่ใช้ทำงานร่วมกับคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ทำงานเฉพาะด้าน เช่น การจัดการรพิมพ์รายงาน การนำเสนองาน การจัดทำบัญชี การตกแต่งภาพ หรือการออกแบบเว็บไซต์ เป็นต้น

ประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์ แบ่งไปน 2ประเภท คือ
1. ซอฟแวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้เองโดยเฉพาะ(proprrietary Software)
2.ซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้ทั่วไป (Packaged Software)
มีทั้งโปรแกรมเฉพาะ(Customized  Packaged)และโปรแกรมมาตรฐาน(Standard Packaged)


กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิกและมัลติมีเดีย
                        ซอฟแวร์กลุ่มนี้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อช่วยจัดการด้านงานกราฟิกและมัลติมีเดีย เพื่อให้งานง่ายขึ้น เช่น ใช้ตกแต่ง วาดรูป ปรับเสียง ตัดต่อภาพเคลื่อนไหว และการสร้างและออกแบบเว็บไซต์ ตัวอย่างเช่น
    โปรแกรมงานออกแบบ อาทิ Microsoft Visio Professional
    โปรแกรมตกแต่งภาพ อาทิ CorelDRAW, Adobe Photoshop
    โปรแกรมตัดต่อวิดิโอและเสียง อาทิ Adobe Premiere, Pinnacle Studio DV              
            โปรแกรมสร้างสื่อมัลติมีเดีย อาทิ Adobe Authorware, Toolbook Instructor, Adobe Director
   โปรแกรมสร้างเว็บ อาทิ Adobe Flash, Adobe Dreamweaver
กลุ่มการใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร
กลุ่มการใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร
            โปรแกรมส่งข้อความด่วน (Instant Messaging) อาทิ MSN Messenger/ Windows Messenger, ICQ
            โปรแกรมสนทนาบนอินเทอร์เน็ต อาทิ PIRCH, MIRCH
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
            การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้ว่าคอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที แต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมาก
เพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษา คอมพิวเตอร์ในรูปแบบที่เป็นตัวอักษร เป็นประโยคข้อความ ภาษาในลักษณะดังกล่าวนี้เรียกว่าภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูง ภาษาระดับสูงมีอยู่มากมายบางภาษามีความเหมาะสมกับการใช้สั่งงานการ- คำนวณทางคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ บางภาษามีความเหมาะสมไว้ใช้สั่งงานทางด้านการ
จัดการข้อมูล
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์  เมื่อมนุษย์ต้องการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการทำงาน มนุษย์จะต้องบอกขั้นตอนวิธีการให้คอมพิวเตอร์ทราบ การที่บอกสิ่งที่มนุษย์เข้าใจให้คอมพิวเตอร์รับรู้ และทำงานได้อย่างถูกต้อง จำเป็นต้องมีสื่อกลาง ถ้าเปรียบเทียบกับชีวิตประจำวันแล้ว เรามีภาษาที่ใช้ในการติดต่อซึ่งกันและกัน เช่นเดียวกันถ้ามนุษย์ต้องการจะถ่ายทอดความต้องการให้คอมพิวเตอร์รับรู้ และปฏิบัติตามจะต้องมีสื่อกลางสำหรับการติดต่อเพื่อให้คอมพิวเตอร์รับรู้เราเรียกสื่อกลางนี้ว่า ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ในแต่ละยุคประกอบด้วย
ภาษาเครื่อง (Machine Languages)
      เนื่องจากคอมพิวเตอร์ทำงานด้วยสัญญาณทางไฟฟ้า ใช้แทนด้วยตัวเลข 0 และ 1 ได้ ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์
ใช้ตัวเลข 0 และ 1 นี้เป็นรหัสแทนคำสั่งในการสั่งงานคอมพิวเตอร์ รหัสแทนข้อมูลและคำสั่งโดยใช้ระบบเลขฐานสองนี้ คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ เราเรียกเลขฐานสองที่ประกอบกันเป็นชุดคำสั่งและใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์ว่าภาษาเครื่อง การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันทีแต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมาก เพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบอื่นที่เป็นตัวอักษร
ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Languages)
      เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 2 ถัดจากภาษาเครื่อง ภาษาแอสเซมบลีช่วยลดความยุ่งยากลงในการเขียนโปรแกรมเพื่อติดต่อกับคอมพิวเตอร์ 
   แต่อย่างไรก็ตามภาษาแอสเซมบลีก็ยังมีความใกล้เคียงภาษาเครื่องอยู่มาก และจำเป็นต้องใช้ตัวแปลภาษาที่เรียกว่าแอสเซมเบลอร์(Assembler) เพื่อแปลชุดภาษาแอสเซมบลีให้เป็นภาษาเครื่อง

ภาษาระดับสูง (High-Level Languages)
                        เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 3 เริ่มมีการใช้ชุดคำสั่งที่เรียกว่า Statements ที่มีลักษณะเป็น
ประโยคภาษาอังกฤษ ทำให้ผู้ที่เขียนโปรแกรมสามารถเข้าใจชุดคำสั่งเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานง่ายขึ้น ผู้คนทั่วไปสามารถเรียนรู้และเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น เนื่องจากภาษาระดับสูงใกล้เคียงภาษามนุษย์ ตัวแปลภาษาระดับสูงเพื่อให้เป็นภาษาเครื่องนั้นมีอยู่ 2 ชนิด ด้วยกัน คือ คอมไพเลอร์ (Compiler) และ อินเทอร์พรีเตอร์ (Interpreter)
คอมไพเลอร์ จะทำการแปลโปรแกรมที่เขียนเป็นภาษาระดับสูงทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่องก่อน แล้วจึงให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามภาษาเครื่องนั้น อินเทอร์พรีเตอร์ จะทำการแปลทีละคำสั่ง แล้วให้คอมพิวเตอร์ทำตามคำสั่งนั้น เมื่อทำเสร็จแล้วจึงมาทำการแปลคำสั่งลำดับต่อไป ข้อแตกต่างระหว่างคอมไพเลอร์กับอินเทอร์พรี เตอร์จึงอยู่ที่การแปลทั้งโปรแกรมหรือแปลทีละคำสั่ง


       ระบบเคริอข่ายคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต
                                                                 องค์ประกอบขจองเครือข่าย
                    ฮาร์ดแวร์ Hardware              ซอฟแวร์ Software                     ตัวนำข้อมูล Media
  ๑คอมพิวเตอร์ Client PC                         ๑  โปรแกรมปฏิบัติการ             ๑ สายโคอเอกเซียม Coaxialcable
  ๒เซอร์เวอร์  Server                                ๒  โปรแกรมประยุกต์                ๒สายคู่บิดกลียวหุ่มฉนวน  STP
  ๓ฮับ  Hob                                                                                           ๓สายคู่บิดเกลียวไม่หุ่มฉนวน UTP
  ๔บริดจ์  Bridgr                                                                                    ๔ใยแก้วนำแสง Fiber Optic Cabie
  ๕เราท์เตอร์ Router
  ๖เกตเวอร์Gateway
 ๗โมเดม  Modem
 ๘เน็ตเวอร์การ์ด   Network  Card
          

              - การทำงานของระบบ  Network และ  Internet
          โครงสร้างของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
๑ เครือข่านเฉพราะที่  (  Local Area Network : LAN  )
               เป็นเครือข่ายที่มักพบกันในองค์กรโดยส่วนใหญ่ลักษณะของการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นวง  LAN
จะอยู่ในพื้นที่ใกล้เคียงกัน  เช่น  อยู่ในอาคาร  หรือหน่อยงานเดียวกัน สามารถดูแลได้เองโดยไม่ต้องใช้ระบบสื่อสารข้อมูลแบบอื่น
       



๒  เครือข่ายเมือง  ( Matropolitan  Area Network :  MAN
        เป็นกลุ่มของเครือข่าย  LAN  ที่นำมาเชื่อมกันเป็นวงที่ใหญ่ขึ้น ภานในบริเวณพื้นที่ใกล้เคียง
เช่น ในเมืองเดียวกัน  
        


 ๓ เครือข่ายบริเวณกว้าง  (  Wide Area Network  :  WAN )
     เป็นเครือข่ายใหญ่ขึ้นอีกระดับ  โดยเป็นการรวมทั้งเครือข่าย  LAN  และ  MAN   มาเชื้อมต่อกันเป็น
เครือข่ายเดียว  ดังนั้นเครือข่ายนี้จึงควบคุมพื้นที่กว้าง  โดยมีการควบคุมไปทั่วประเทศ

       


       - รุปแบบโครงสร้างเครือข่าย  ( Network Topolohy )
            การจัดระบบการทำงานของเครือข่าย  มีรูปแบบโครงสร้างของเครือข่ายเป็นการจัดวางคอมพิวเตอร์   และเดินสายสัญญาณคอมพิวเตอร์   โดยแบ่งโครงสร้างเครือข่ายหลักได้  4  แบบ
คือ - เครือข่ายแบบดาว
      - เครือข่ายแบบวงแหวน
      - เครือข่ายแบบบัส
     -  เครือข่ายแบบต้นไม้


      ๑  เครือข่่ายแบบดาว
              เป็นการเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุด โดยสถานีทุกสถานีในเครือข่ายจะต่อเข้ากับหน่วยสลับสายกลางแบบจุดต่อจุด การติดต่อสื่อสารระหว่างสถานีจะกระทำได้ด้วยการติดต่อผ่านทางวงจรของหน่วยสลับสายกลาง การทำงานของหน่วยสลับสายกลางจึงคล้ายกับศูนย์กลางของการติดต่อวงจรเชื่อมโยงระหว่างสถานีต่าง ๆ ที่ต้องการติดต่อกัน
ข้อดีคือการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เครื่องใหม่สามารถทำได้ง่ายและไม่กระทบกับเครื่องอื่นในระบบเลย แต่ข้อเสียคือมี ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสายสูงและถ้าคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางเสียระบบเครือข่ายจะหยุดชะงักทั้งหมดทันที
            


๒  ระบบเครือข่ายแบบวงแหวน
   เป็นลักษณะการเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุดเช่นเดียวกับแบบดาว โดยสถานีแต่ละสถานีจะต่อกับสถานีที่อยู่ติดทั้งสองข้างของตนเอง และทุกสถานีมีเครื่องขยายสัญญาณของตัวเอง โดยจะมีการเชื่อมโยงเครื่องขยายสัญญาณของแต่ละสถานีเข้าด้วยกันเป็นวงแหวน สัญญาณข้อมูลจะส่งอยู่ในวงแหวนแบบจุดต่อจุดไปในทิศทางเดียวกันจนถึงผู้รับภายในเวลาที่กำหนด โดยเครื่องขยายสัญญาณเหล่านี้จะมีหน้าที่ในการรับข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ของตัวเองหรือจากเครื่องขยายสัญญาณตัวก่อนหน้า และส่งข้อมูลต่อไปยังเครื่องขยายสัญญาณตัวถัดไปเรื่อย ๆ เป็นวง หากข้อมูลที่ส่งเป็นของสถานีใด เครื่องขยายสัญญาณของสถานีนั้นก็รับและส่งให้กับสถานีนั้น จึงต้องมีการตรวจสอบข้อมูลที่ได้รับว่าเป็นของตนหรือไม่ ถ้าใช่ก็รับไว้ ถ้าไม่ใช่ก็ส่งต่อไป อีกทั้งสามารถตรวจสอบความผิดพลาดในการส่งด้วยโดยกรณีที่เครื่องรับปลายทางไม่ได้รับสัญญาณข้อมูลในเวลาที่กำหนด จะมีการแจ้งว่าเกิดความผิดพลาดในเครือข่ายได้ ข้อดีคือ ใช้สายเคเบิลน้อย และสามารถตัดเครื่องที่เสียออกจากระบบได้ ทำให้ไม่มีผลต่อระบบเครือข่าย ข้อเสียคือหากมีเครื่องที่มีปัญหาอยู่ในระบบจะทำให้เครือข่ายไม่สามารถทำงานได้เลย และการเชื่อมต่อเครื่องเข้าสู่เครือข่ายอาจต้องหยุดระบบทั้งหมดลงก่อน
          


 ๓  ระบบเครือข่ายแบบบัส
    เป็นรูปแบบที่มีผู้นิยมใช้มากแบบหนึ่ง เพราะมีโครงสร้างไม่ยุ่งยากและไม่ต้องใช้อุปกรณ์สลับสาย เป็นการเชื่อมต่อแบบหลายจุด สถานีทุกสถานีรวมทั้งอุปกรณ์ทุกชิ้นในเครือข่ายจะเชื่อมต่อเข้ากับสายสื่อสารหลักเพียงสายเดียว เรียกว่าแบ็กโบน (backbone) การจัดส่งข้อมูลลงบนบัสจึงสามารถทำให้การส่งข้อมูลไปถึงทุกสถานีได้ผ่านสายแบ็กโบนนี้ โดยการจัดส่งวิธีนี้ต้องกำหนดวิธีการที่จะไม่ให้ทุกสถานีส่งข้อมูลพร้อมกันเพราะจะทำให้ข้อมูลชนกัน โดยวิธีการที่ใช้อาจเป็นการแบ่งช่วงเวลา หรือให้แต่ละสถานีใช้ความถี่สัญญาณที่แตกต่างกัน ข้อดีที่ใช้สายน้อย และถ้ามีเครื่องเสียก็ไม่มีผลอะไรต่อระบบโดยรวม ส่วนข้อเสียก็คือตรวจหาจุดที่เป็นปัญหาได้ยาก
     


๔  ระบบเครือข่ายต้นไม้
     มีลักษณะการเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุดเช่นเดียวกับแบบดาว โดยมีสายนำสัญญาณแยกออกไปเป็นแบบกิ่ง เครือข่ายแบบนี้จะเหมาะกับการประมวลผลแบบกลุ่มจะประกอบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ระดับต่างๆกันอยู่หลายเครื่องแล้วต่อกันเป็นชั้น ๆ ดูราวกับแผนภาพองค์กร แต่ละกลุ่มจะมีโหนดแม่ละโหนดลูกในกลุ่มนั้นที่มีการสัมพันธ์กัน การสื่อสารข้อมูลจะผ่านตัวกลางไปยังสถานีอื่นๆได้ทั้งหมด เพราะทุกสถานีจะอยู่บนทางเชื่อม และรับส่งข้อมูลเดียวกัน ดังนั้นในแต่ละกลุ่มจะส่งข้อมูลได้ทีละสถานีโดยไม่ส่งพร้อมกัน
   

  -  การประยุกต์ใช้งานของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทำให้เกิดการสื่อสาร  และการแบ่งบันการใช้ทรัพยากรระหว่างเครื่อง
 -  ระบบเครือข่ายแบ่งตามลักษณะการทำงาน  แบ่งได้    3   ประเภท
๑ ระบบเครือข่ายแบบศูนย์กลาง    Centarllized  Network  
๒ ระบบเครือข่ายแบบ    Peer  to  Peer
๓ ระบบเครือข่ายแบบ  Client / Server


    ๑ ระบบเครือข่ายแบบรวมศูนย์กลาง
 เป็นระบบที่มีเครื่องหลักเพียงเครื่องเดียวที่ใช้ในการประมวลผล ซึ่งจะตังอยู่ที่ศูนย์กลางและมีการเชื่อมต่อไปยังเครื่องเทอร์มินอลที่อยู่รอบๆ โดยการเดินสายเคเบิลเชื่อมต่อกันโดยตรง เพื่อให้เครื่องเครื่องเทอร์มินอลสามารถเข้าใช้งาน โดยส่งคำสั่งต่างๆ มาประมวลผลที่เครื่องกลาง ซึ่งมักเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรมประสิทธิภาพสูง ระบบเครือข่ายแบบรวมศูนย์กลางจะมีราคาสูง และและไม่สามารถสนับสนุนระบบการประมวลผลแบบ Multiprocessor ได้ดีเท่ากับระบบเครือข่ายแบบ Client/Server ปัจจุบันระบบนี้จึงมีความนิยมในการใช้งานลดน้อยลง

   ๒  ระบบเครือข่าย peer to peer

 เครือข่ายแบบนี้จะเก็บไฟล์และการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ต่างๆ ไว้ที่เครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้แต่ละคน โดยไม่มีคอมพิวเตอร์ส่วนกลางที่ทำหน้าที่นี้ เรียกได้ว่าต่างคนต่างเก็บ ต่างคนต่างใช้ แต่ผู้ใช้ในเครือข่ายสามารถเรียกใช้ไฟล์จากคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นได้ ถ้าคอมพิวเตอร์เครื่องนั้นทำการแชร์ไฟล์เหล่านั้นไว้ เครือข่ายแบบ Peer-to-Peer นี้เหมาะสำหรับองค์กรขนาดเล็กที่มีคอมพิวเตอร์เชื่อมต่อกันไม่เกิน 10 เครื่อง เนื่องจากติดตั้งง่าย ราคาไม่แพง และการดูแลไม่ยุ่งยากนัก แต่ถ้าคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายมีมากกว่า 10 เครื่องขึ้นไปควรจะใช้เครือข่ายแบบอื่นดีกว่า
  

   ๓ ระบบเครือข่ายแบบ Client / Server
  ป็นรูปแบบหนึ่งของเครือข่ายแบบ server-based โดยจะมีคอมพิวเตอร์หลักเครื่องหนึ่งเป็น เซิร์ฟเวอร์ ซึ่งจะไม่ได้ทำหน้าที่ประมวลผลทั้งหมดให้เครื่องลูกข่าย หรือไคลเอนต์ (client) เซิร์ฟเวอร์ทำหน้าที่เสมือนเป็นที่เก็บข้อมูลระยะไกล (remote disk) และประมวลผลบางอย่างให้กับไคลเอนต์เท่านั้น เช่น ประมวลผลคำสั่งในการดึงข้อมูลจากเซิร์ฟเวอร์ฐานข้อมูล (database server) เป็นต้น


-