welcome To My blogger NooTaii

วันจันทร์ที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2555



การเรียนรู้แบบออนไลน์  ( e – Learning )
                เป็นการเรียนรู้ผ่านอินเทอร์เน็ต  เป็นการเรียนรู้ด้วยตนเองตามความสามารถและความเข้าใจ  โดยเนื้อหาบทเรียนประกอบด้วย  ข้อความ  รูปภาพ   เสียง  มัลติมิเดีย  ผ่านเว็บเพาร์เวอร์  ซึ้งทุกคนสามารถแลกเปลี่ยนความคิดได้  เช่นเดียวกับการเรียนในห้อง
-การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับการเรียน
       -  การเรียนรู้แบบออนไลน์  ( e – Learning )
    - บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน  ( Computer  Assisted Instruction – CAI  )
    -  วีดีทัศน์ตามอัทยาศัย     ( Videos on  Demand  VDO )
    -  หนังสืออีเล็กทรอนิกส์  ( G – books )
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศรูปแบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
  มี 6 รูปแบบ

       เทคโนโลยีที่เก็บข้อมูล
      เทคโนโลยีที่ใช้ในการประมวลผลข้อมูล
      เทคโนโลยีที่ใช้ในการแสดงผลข้อมูล
      เทคโนโลยีที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล
      เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดสำเนาเอกสาร
       เทคโนโลยีสำหรับถ่ายทอดหรือสื่อสารข้อมูล



      ๑       เทคโนโลยีที่เก็บข้อมูล      เทคโนโลยีที่ใช้ในการประมวลผลข้อมูล      เทคโนโลยีที่ใช้ในการแสดงผลข้อมูล      เทคโนโลยีที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล      เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดสำเนาเอกสาร       เทคโนโลยีสำหรับถ่ายทอดหรือสื่อสารข้อมูล


-  ตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
     -    ระบบเอทีเอ็ม
    -   การลงทะเบียน
    -   การบริการและการทำธุรกิจบนอินเทอร์เน็ต
พฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ อะไร
          การแสดงออกทางความคิดความรู้สึกในการใช้รูปแบบของเทคโนโลยีทุกประเภทที่นำมาใช้ในการประยุกต์ใช้ในมวลการจัดหา  จัดเก็บ  จัดเรียง  ได้แก่  ภาพ  ข้อความ  ตัวอักษรหรือตัวเลข
-  การใช้อินเทอร์เน็ต
            ส่วนใหญ่ใช้งานอินเทอร์เน็ตเพื่อความบันเทิงเนื่องจากมีความสะดวกติดต่อกับผู้อื่นได้ง่าย   ส่วนในระดับอุดมศึกษาใช้เพื่อความรู้ และติดต่อสื่อสาร




การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีกับการเรียนการสอน
         บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน  คือ   บทเรียนคอมพิวเตอร์ซึ้งนำสารสนเทศที่ได้ผ่านกระบวนการสร้างและพิจารณาอย่างดี มีเนื้อหาวิชาหรือสารสนเทศ  แบบฝึกหัด  การทดสอบและการให้ข้อมูลป้อนกลับผู้เรียนตอบสนองต่อบทเรียน  โดยอาศัยพฤติกรรมการเรียนรู้  ทฤษฎีการเสริมแรง   ทฤษฎีการวางเงื่อนไขปฏิบัติ  ซึ้งถือว่าความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองเป็นการให้ผู้เรียนมีโอกาสเรียนรู้ด้วยตนเอง และตอบสนองกลับทันที  และเรียนรู้ไปทีละขั้นตอนอย่างเหมาะสมต่อความต้องการและความสามารถของตน



                -     วิดีทัศน์ตามอัชยาศัย   คือ ระบบการเรียกดูภาพยนตร์ตามสั่งที่อาจจะอำนวยความสะดวกให้ผู้ใช้งานสามารถเลือกดูภาพยนต์  ข้อมูล  ภาพเคลื่อนไหว  พร้อมเสียงได้ตามต้องการ  สโลแกนที่ว่า to  view what  one wants.  และสามารถควบคุมข้อมูลวิดีโอนั้นๆ โดยสามารถย้อนกลับ ตรงไปข้างหน้า หรือหยุดชั่วคราวได้เปรียบเสมือนดูวิดีโอที่บาน
             -  หนังสืออิเล็กทรอนิกส์   คือ  หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถอ่านได้ทางอินเทอร์เน็ต  โดยมีเครื่องมือที่จำเป็นการอ่านหนังสือประเภทนี้   คือ  ฮาร์ดแวร์   ประเภทเครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์พกพาอื่นๆ  ส่วนการดึงข้อมูล  e-books  ซึ้งอยู่บนเว็บไซน์การให้บริการด้านนี้มีลักษณะของไฟล์  e-books  หากนักเรียนหรือนักพิมพ์ต้องการว่าง  e-books  สามารถเลือกได้  ๔  รูปแบบ  ( HTML )  ( PDF )  ( PML )  ( XML )
           -  ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์    คือ   เป็นแหล่งความรู้ที่บันทึกไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายและให้บริการสารสนเทศทางอิเล็กทรอนิกส์หรือผ่านครือข่ายอินเทอร์เน็ต
               คุลักษะที่สำคัญของห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ มีดังนี้
๑  หารจัดทรัพยากรสารสนเทศ
๒ ความสามารถในการเข้าถึงสารสนเทศ
๓ บรรณาลักหรือบุคลากร
๔ ความสามารถในการจักเก็บ
-  การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ
          การใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการสืบค้น  ค้นหา  หรือดึงข้อมูลและสารนเทศที่ผู้ช้ระบุแหล่งรวบรวมสารสนเทศไร้จำนวนมากเพื่อประโยชน์ต่างๆ
             -  วัตถุประสงค์ในการสืบค้นสารสนเทศ
              ๑เพื่อทราบถึงรายละเอียดของข้อมูล
               )  เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการศึกษาหรือทำงาน
              ๓ )  เพื่อสร้างการเรียนรู้ให้กับตนเองและผู้อื่น
             ๔  )   เพื่อตรวจสอบข้อมูล
            ๕ )    เพื่อการนำข้อมูลที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
-  Search  Engine
         หมายถึง  เครื่องมือหรือเว็บไซต์ที่อำนวยความสะดวกในการสืบค้นข้อมูลและข่าวสารให้แก่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ต   จากแหล่งข้อมูลเว็บไซต์ต่างๆ ในระบบเครือข่าย  เพื่อให้มาซึ้งข้อมูลที่ต้องการ           คือ     โปรแกรมที่ออกแบบมาเป็นเครื่องมือสำหรับใช้ค้นหาข้อมูลบนเว็บไซต์ต่างๆ
-  Search  Engine    แบ่งออกเป็น   ๓   ประเภท
         -  อินดักเซอร์   (  Indexerx  )  เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการค้นหาหรือหาข้อมูลต่างๆ    หรือที่เรียกว่า  Robot  วิ่งไปมาในอินเทอร์เน็โดยอัตโนมัติเพื่ออ่านข้อมูลจาเว็บเพจต่างๆ  (Web  Pahes  )
        -  ไดเร็กเทอร์  ( Direetories  )    จะใช้เก็บรวยรวมข้อมูล
        เมตะเสิร์น   (  Metasearch  )          จะใช้หลายวิธีมาช่วยในการหาข้อมูลโดยจะ รับคำสั่งค้นหาจากเราแล้วส่งต่อไปยังเว็บไซต์
คอมพิวเตอร์ หมายถึง   เครื่องมืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทำงานด้วยคำสั่ง    ชุดคำสั่ง หรือโปรแกรมต่างๆ  สามารถเชื่อมต่อกันเป็นครือข่ายได้หลายแบบลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์คือมีศักยภาพสูงในคำนวณและประมวลผลข้อมูลทั้งที่เป็น  ภาพและเสียง
-   ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์   แบ่งออกเป็น ๕  ส่วน
        ๑  หน่วยรับข้อมูลเข้า    ( Input  Unit )  ได้แก่
              แป้นอักขระ    ( Keybeard )
             แผ่นซีดี       (  CD – Rom )
            ไมโคโฟน    (Microphone )
     ๒  หน่วยประมวลผลกลาง  ( Central Pressing  Unit )
                  ทำหน้าที่เกี่ยวกับการคำนวณทั้งทางตรรยะและทางคณิตศาสตร์รวมถึงการประมวลข้อมูลตามคำสั่ง
   ๓  หน่วยคามจำ   ( Memory Unit )  
                 ทำหน้าที่เก็บข้อมูลหรือคำสั่งที่รับมาจากหน่วยรับข้อมูลเพื่อเตรียมส่งไปประมวลผลยังหน่วยประมวลผลกลางเพื่อเตรียมไปยังหน่วยแสดงผล
  ๔  หน่วยแสดงผล   ( Output  Unit )  
               ทำหน้าที่แสดงข้อมูลที่คอมพิวเตอร์ทำการประมวลผล หรือผ่านการประมวลผลแล้ว
  ๕  อุปกรณ์ต่อพ่วงอื่น ๆ   ( Peripheral  Equipment )
             เป็นอุปกรณ์ที่นำมาต่อพ่วงกับคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้มากยิ่งขึ้น  เช่น  โมเด็ม  Modem   แผ่นวงจรเชื่อมต่อเครือข่าย
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
๑  มีความเร็วในการทำงานสูง สามารถประมวลผลคำสั่งได้เร็ว
๒ มีประสิทธิภาพในการทำวานสูง  ทำงานได้ตลอด  ๒๔ ซม.
๓ มีความถูกต้องแม่นยำ  ตามโปรแกรมข้อมูลที่ใช้
๔ เก็บข้อมูลมาก  ไม่เปลืองที่เก็บเอกสาร
๕ สามารถโอนย้ายข้อมูลจากเครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่งได้ผ่านระบบเครือข่ายอย่างรวดเร็ว
- ระบบคอมพิวเตอร์ 
          คือ   กรรมวิธีคอมพิวเตอร์ทำงานไดๆ เก็บข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่เป็นประโยชน์ตามความประสงค์ของผู้ใช้งาน  เช่น  ระบบเสียภาษี  ระบบทะเบียนบ้าน  ระบบทะเบียนการศาลราษฎร์ 
ทะเบียนโรงพยาบาล  ระบบ System  

วันอังคารที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2555


- การทำงานของระบบ  Network และ  Internet
          โครงสร้างของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
๑ เครือข่านเฉพราะที่  (  Local Area Network : LAN  )
               เป็นเครือข่ายที่มักพบกันในองค์กรโดยส่วนใหญ่ลักษณะของการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นวง  LAN
จะอยู่ในพื้นที่ใกล้เคียงกัน  เช่น  อยู่ในอาคาร  หรือหน่อยงานเดียวกัน สามารถดูแลได้เองโดยไม่ต้องใช้ระบบสื่อสารข้อมูลแบบอื่น
       



๒  เครือข่ายเมือง  ( Matropolitan  Area Network :  MAN
        เป็นกลุ่มของเครือข่าย  LAN  ที่นำมาเชื่อมกันเป็นวงที่ใหญ่ขึ้น ภานในบริเวณพื้นที่ใกล้เคียง
เช่น ในเมืองเดียวกัน  
        


 ๓ เครือข่ายบริเวณกว้าง  (  Wide Area Network  :  WAN )
     เป็นเครือข่ายใหญ่ขึ้นอีกระดับ  โดยเป็นการรวมทั้งเครือข่าย  LAN  และ  MAN   มาเชื้อมต่อกันเป็น
เครือข่ายเดียว  ดังนั้นเครือข่ายนี้จึงควบคุมพื้นที่กว้าง  โดยมีการควบคุมไปทั่วประเทศ

       


       รุปแบบโครงสร้างเครือข่าย  ( Network Topolohy )
            การจัดระบบการทำงานของเครือข่าย  มีรูปแบบโครงสร้างของเครือข่ายเป็นการจัดวางคอมพิวเตอร์   และเดินสายสัญญาณคอมพิวเตอร์   โดยแบ่งโครงสร้างเครือข่ายหลักได้  4  แบบ
คือ - เครือข่ายแบบดาว
      - เครือข่ายแบบวงแหวน
      - เครือข่ายแบบบัส
     -  เครือข่ายแบบต้นไม้


      ๑  เครือข่่ายแบบดาว
              เป็นการเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุด โดยสถานีทุกสถานีในเครือข่ายจะต่อเข้ากับหน่วยสลับสายกลางแบบจุดต่อจุด การติดต่อสื่อสารระหว่างสถานีจะกระทำได้ด้วยการติดต่อผ่านทางวงจรของหน่วยสลับสายกลาง การทำงานของหน่วยสลับสายกลางจึงคล้ายกับศูนย์กลางของการติดต่อวงจรเชื่อมโยงระหว่างสถานีต่าง ๆ ที่ต้องการติดต่อกัน
ข้อดีคือการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เครื่องใหม่สามารถทำได้ง่ายและไม่กระทบกับเครื่องอื่นในระบบเลย แต่ข้อเสียคือมี ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสายสูงและถ้าคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางเสียระบบเครือข่ายจะหยุดชะงักทั้งหมดทันที
            


๒  ระบบเครือข่ายแบบวงแหวน
   เป็นลักษณะการเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุดเช่นเดียวกับแบบดาว โดยสถานีแต่ละสถานีจะต่อกับสถานีที่อยู่ติดทั้งสองข้างของตนเอง และทุกสถานีมีเครื่องขยายสัญญาณของตัวเอง โดยจะมีการเชื่อมโยงเครื่องขยายสัญญาณของแต่ละสถานีเข้าด้วยกันเป็นวงแหวน สัญญาณข้อมูลจะส่งอยู่ในวงแหวนแบบจุดต่อจุดไปในทิศทางเดียวกันจนถึงผู้รับภายในเวลาที่กำหนด โดยเครื่องขยายสัญญาณเหล่านี้จะมีหน้าที่ในการรับข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ของตัวเองหรือจากเครื่องขยายสัญญาณตัวก่อนหน้า และส่งข้อมูลต่อไปยังเครื่องขยายสัญญาณตัวถัดไปเรื่อย ๆ เป็นวง หากข้อมูลที่ส่งเป็นของสถานีใด เครื่องขยายสัญญาณของสถานีนั้นก็รับและส่งให้กับสถานีนั้น จึงต้องมีการตรวจสอบข้อมูลที่ได้รับว่าเป็นของตนหรือไม่ ถ้าใช่ก็รับไว้ ถ้าไม่ใช่ก็ส่งต่อไป อีกทั้งสามารถตรวจสอบความผิดพลาดในการส่งด้วยโดยกรณีที่เครื่องรับปลายทางไม่ได้รับสัญญาณข้อมูลในเวลาที่กำหนด จะมีการแจ้งว่าเกิดความผิดพลาดในเครือข่ายได้ ข้อดีคือ ใช้สายเคเบิลน้อย และสามารถตัดเครื่องที่เสียออกจากระบบได้ ทำให้ไม่มีผลต่อระบบเครือข่าย ข้อเสียคือหากมีเครื่องที่มีปัญหาอยู่ในระบบจะทำให้เครือข่ายไม่สามารถทำงานได้เลย และการเชื่อมต่อเครื่องเข้าสู่เครือข่ายอาจต้องหยุดระบบทั้งหมดลงก่อน
          


 ๓  ระบบเครือข่ายแบบบัส
    เป็นรูปแบบที่มีผู้นิยมใช้มากแบบหนึ่ง เพราะมีโครงสร้างไม่ยุ่งยากและไม่ต้องใช้อุปกรณ์สลับสาย เป็นการเชื่อมต่อแบบหลายจุด สถานีทุกสถานีรวมทั้งอุปกรณ์ทุกชิ้นในเครือข่ายจะเชื่อมต่อเข้ากับสายสื่อสารหลักเพียงสายเดียว เรียกว่าแบ็กโบน (backbone) การจัดส่งข้อมูลลงบนบัสจึงสามารถทำให้การส่งข้อมูลไปถึงทุกสถานีได้ผ่านสายแบ็กโบนนี้ โดยการจัดส่งวิธีนี้ต้องกำหนดวิธีการที่จะไม่ให้ทุกสถานีส่งข้อมูลพร้อมกันเพราะจะทำให้ข้อมูลชนกัน โดยวิธีการที่ใช้อาจเป็นการแบ่งช่วงเวลา หรือให้แต่ละสถานีใช้ความถี่สัญญาณที่แตกต่างกัน ข้อดีที่ใช้สายน้อย และถ้ามีเครื่องเสียก็ไม่มีผลอะไรต่อระบบโดยรวม ส่วนข้อเสียก็คือตรวจหาจุดที่เป็นปัญหาได้ยาก
     


๔  ระบบเครือข่ายต้นไม้
     มีลักษณะการเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุดเช่นเดียวกับแบบดาว โดยมีสายนำสัญญาณแยกออกไปเป็นแบบกิ่ง เครือข่ายแบบนี้จะเหมาะกับการประมวลผลแบบกลุ่มจะประกอบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ระดับต่างๆกันอยู่หลายเครื่องแล้วต่อกันเป็นชั้น ๆ ดูราวกับแผนภาพองค์กร แต่ละกลุ่มจะมีโหนดแม่ละโหนดลูกในกลุ่มนั้นที่มีการสัมพันธ์กัน การสื่อสารข้อมูลจะผ่านตัวกลางไปยังสถานีอื่นๆได้ทั้งหมด เพราะทุกสถานีจะอยู่บนทางเชื่อม และรับส่งข้อมูลเดียวกัน ดังนั้นในแต่ละกลุ่มจะส่งข้อมูลได้ทีละสถานีโดยไม่ส่งพร้อมกัน
   

  -  การประยุกต์ใช้งานของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทำให้เกิดการสื่อสาร  และการแบ่งบันการใช้ทรัพยากรระหว่างเครื่อง
 -  ระบบเครือข่ายแบ่งตามลักษณะการทำงาน  แบ่งได้    3   ประเภท
๑ ระบบเครือข่ายแบบศูนย์กลาง    Centarllized  Network  
๒ ระบบเครือข่ายแบบ    Peer  to  Peer
๓ ระบบเครือข่ายแบบ  Client / Server


    ๑ ระบบเครือข่ายแบบรวมศูนย์กลาง
 เป็นระบบที่มีเครื่องหลักเพียงเครื่องเดียวที่ใช้ในการประมวลผล ซึ่งจะตังอยู่ที่ศูนย์กลางและมีการเชื่อมต่อไปยังเครื่องเทอร์มินอลที่อยู่รอบๆ โดยการเดินสายเคเบิลเชื่อมต่อกันโดยตรง เพื่อให้เครื่องเครื่องเทอร์มินอลสามารถเข้าใช้งาน โดยส่งคำสั่งต่างๆ มาประมวลผลที่เครื่องกลาง ซึ่งมักเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรมประสิทธิภาพสูง ระบบเครือข่ายแบบรวมศูนย์กลางจะมีราคาสูง และและไม่สามารถสนับสนุนระบบการประมวลผลแบบ Multiprocessor ได้ดีเท่ากับระบบเครือข่ายแบบ Client/Server ปัจจุบันระบบนี้จึงมีความนิยมในการใช้งานลดน้อยลง

   ๒  ระบบเครือข่าย peer to peer

 เครือข่ายแบบนี้จะเก็บไฟล์และการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ต่างๆ ไว้ที่เครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้แต่ละคน โดยไม่มีคอมพิวเตอร์ส่วนกลางที่ทำหน้าที่นี้ เรียกได้ว่าต่างคนต่างเก็บ ต่างคนต่างใช้ แต่ผู้ใช้ในเครือข่ายสามารถเรียกใช้ไฟล์จากคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นได้ ถ้าคอมพิวเตอร์เครื่องนั้นทำการแชร์ไฟล์เหล่านั้นไว้ เครือข่ายแบบ Peer-to-Peer นี้เหมาะสำหรับองค์กรขนาดเล็กที่มีคอมพิวเตอร์เชื่อมต่อกันไม่เกิน 10 เครื่อง เนื่องจากติดตั้งง่าย ราคาไม่แพง และการดูแลไม่ยุ่งยากนัก แต่ถ้าคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายมีมากกว่า 10 เครื่องขึ้นไปควรจะใช้เครือข่ายแบบอื่นดีกว่า
  

   ๓ ระบบเครือข่ายแบบ Client / Server
  ป็นรูปแบบหนึ่งของเครือข่ายแบบ server-based โดยจะมีคอมพิวเตอร์หลักเครื่องหนึ่งเป็น เซิร์ฟเวอร์ ซึ่งจะไม่ได้ทำหน้าที่ประมวลผลทั้งหมดให้เครื่องลูกข่าย หรือไคลเอนต์ (client) เซิร์ฟเวอร์ทำหน้าที่เสมือนเป็นที่เก็บข้อมูลระยะไกล (remote disk) และประมวลผลบางอย่างให้กับไคลเอนต์เท่านั้น เช่น ประมวลผลคำสั่งในการดึงข้อมูลจากเซิร์ฟเวอร์ฐานข้อมูล (database server) เป็นต้น


-  



หน่วยความจำหลัก
        คือ หน่วยความจำที่ต่อกับหน่วยประมวลผลกลาง และหน่วยประมวลผลกลางสามารถใช้งานได้โดยตรง หน่วยความจำ ชนิดนี้จะเก็บข้อมูล และชุดคำสั่งในระหว่างประมวลผล และมีกระแสไฟฟ้า เมื่อปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ข้อมูลในหน่วย ความจำนี้จะหายไปด้วย หน่วยความจำหลักที่ใช้ในระบบคอมพิวเตอร์ปัจจุบัน เป็นชนิดที่ทำมาจากสารกึ่งตัวนำ หน่วยความจำชนิดนี้มีขนาดเล็ก ราคาถูก แต่เก็บข้อมูลได้มาก และสามารถให้หน่วยประมวลผลกลาง นำข้อมูลมาเก็บ และเรียกค้นได้อย่างรวดเร็ว
         เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องต้องอาศัยหน่วยความจำหลัก เพื่อใช้เก็บข้อมูลและคำสั่ง ซีพียูจะทำหน้าที่นำคำสั่ง จากหน่วยความจำหลัก มาแปลงความหมายแล้วกระทำตาม เมื่อทำเสร็จก็จะนำผลลัพธ์มาเก็บไว้ในหน่วยความจำหลัก ซีพียูจะกระทำตามขั้นตอนเช่นนี้เป็นวงรอบเรื่อยๆ ไปอย่างรวดเร็ว เรียกการทำงานลักษณะนี้ว่า วงรอบคำสั่ง (Execution cycle)
         จากการทำงานเป็นวงรอบของซีพียูนี้เอง การอ่านเขียนข้อมูลลงในหน่วยความจำหลัก จะต้องทำได้อย่างรวดเร็ว เพื่อให้ทันการทำงานของซีพียู โดยปกติุุถ้าให้ซีพียูทำงานที่มีความถี่ของสัญญาณนาฬิกา 2,000 เมกะเฮิรตซ์ หน่วยความจำหลักที่ใช้ทั่วไปมักจะมีความเร็วไม่ทันช่วงติดต่ออาจมีเพียง 100 เมกะเฮิรตซ์


หน่วยประมวลผลกลาง


ด้านฮาร์ดแวร์ 2 อย่างคือ
1.ชิป (chit) ทำหน้าที่การทำงานข้อมูลของคอมพิวเตอร์








2. ตัวกล่องเครื่องที่มี CPU บรรจุอยู่


y)











แรม RAM = Random Access N=Memory เป็นหน่วยึความจำที่ต้องอาศัยกระแสไฟฟ้า เพื่อรักษาข้อมูล ข้อมูลหรือกระแสข้อมูลจะถูกเก็บไว้ชั่วคราวขณะทำงาน

รอม ROM = Read Only Memory เป็นหน่วยความจำที่ใช้เก็บโปรแกรมหรืแชอข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ข้อมูลที่ถาวรไม่ขึ้นกับไฟฟ้าที่ป้อนให้กับวงจร ยอมให้ซีพียูอ่านข้อหรือดปรแกรมไปใช่งานอย่างเดียว


หน่อยความจำสำรอง
Secondary Memoy Unit


    ฮาร์ดิส               แฮนดี้ไดส์              แผ่นดิส์                       
mp 4             mp 3











         ประโยชน์ของหน่อยความจำสำรอง
         หน่อยความจำสำรองจะช่วยแก้ปัญหาการสูญหายของข้อมูลอันเนื่องมาจากไฟฟ้าดับเพราะข้อมูลต่างๆที่ส่งเข้ามาประมวลผล   ผลลัพธ์ที่ได้จะถูกเก็บในความจำหลักประเทแรมหาอปิดเครื่องหรือมีปัญหาทางไฟฟ้า  อาจท่ำให้ข้อมูลสูญหายจึงต้องมีหน่อยความจำสำรองเพื่อนำข้อมูลจากหน่อยความจำแรมมาเก็บไว้

 
            ส่วนแสดงผลข้อมูล
  คือ ส่านที่แสดงข้อมูลจากสัญญาณไฟฟ้าในหน่อยประมวลผงกลางให้เป็นรูปแบบที่คนสามารถเข้าใจได้ อุปกรณ์ที่แสดงผลข้อมูลได้แก่  จอภาพ Monitor   Sereen   เคนื่องพิมพ์  Printer   ลำโพง  Speaker
เป็นต้น
     

           บุคลากรคอมพิวเตอร์
        PEOLEWARE

หมายถึง  คนที่มีความรู้ความสามารถในการใช้หรือควบคุมให้กรใช้งานคอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างราบรื่น

            ประเถทบุคลากรคอมพิวเตอร์
              PEOPLEWARE
   1 ฝ่ายวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน
   2 ฝ่ายเกี่ยวกีบโปรแกรม
   3 ฝ่ายปฏิบัติงานเครื่องและบริการ
  
          บุคลากรในหน่อยงานคอมพิวเตอร์
   1หัวหน้าหน่อยงานคอมพิเตอร์  EDP  Manager
   2หัวกน้าฝ่ายวิเคราะห์และวงแผนระบบงาน Syatem Analyst หรือ  SA
   3โปรแกรมเมอร์ Prokrammor
   4วิศวกรระบบ
   5พนักงานปฏิบัติงาน


          คอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น  4  ระบบ
    1  ผู้จักการระบบ System Managre
    2  นักวิเคราะห์ระบบ System Analyst
    3  โปรแกรมเมอร์  Programmer
    4   ผู้ใช้  User
ซอฟแวร์(Softwere)               คือ การลำดับขั้นตอนการทำงานของคำสั่งที่จะทำหน้าที่สั่งคอมพิวเตอร์ว่าให้ทำอะไร เป็นชุดของโปรแกรมหลายๆโปรแกรมนำมารถทำงานได้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ตามที่ต้องการ เรามองไม่เห็นหรือสัมผัสไม่ได้แต่เราสารมารถสร้าง จัดเก็บ และนำมาใช้งานหรือเผยแพร่ได้ด้วยสือหลายชนิด เช่น แผ่นซีดี แผ่นบันทึก แฟล็ชไดร์ฟ ฮาร์ดดิสก์ เป็นต้น